📍 兩部美食節目
—
🔥 Fresh, Fried and Crispy (Netflix)
秉持著健康主義的人不要看, 畢竟這是一部關於炸物的節目
⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀
這部美食節目很兩極化, 因為主持人不是 Chef ( 😆 ) , 我覺得蠻適合美食初學者看, 因為內容會提到哪款炸物是用哪種油炸. 主持人很風趣! 風格有點類似 Foodnetwork 裡的 Guy Fieri.
#影集美食內容全部來自美國
Picture Credit: Netflix
—
🔥 Wolfgang Biography (Disney +)
無庸置疑 Wolfgang Puck 與 Julia Child 兩位都是 Celebrity Chef 的始祖, 我是一邊吃晚餐一邊看節目, 感想是還好, 等你們劇荒的時候再看吧.
—
🔎 Instagram: globalfoodelicious
🔆 Where and What I eat
—
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過4,580的網紅alanreborn79,也在其Youtube影片中提到,三十八歲的彭于晏,出道十八年,從愛情戲中的陽光大男孩,到後來成為台灣男神的代表。 在這賣臉的年代,這種不怕苦、沒負面新聞、人又謙虛,確實是難得。更值得學是他人生價值觀。他曾經說過「我就是沒有才華,所以才拿命拼。我不怕吃苦,就怕學習不到東西。」 《聽說》,他學會了手語,練了三個月,每天練到手抽筋...
「netflix biography」的推薦目錄:
netflix biography 在 หนังโปรดของข้าพเจ้า Facebook 的最佳貼文
Mank (2020) สามารถดูได้ใน Netflix
จำไม่ได้แล้วว่าโทนของ Citizen Kane ที่บรรยายถึงวิลเลี่ยม เฮิร์สต์ ออกมาในลักษณะไหน แต่คิดว่าคงเหมือนที่แจ็ค ฟินเชอร์ คนเขียนบท Mank บรรยายออกมาว่าเป็นความผิดหวังมากกว่าความโกรธและความเกลียดชัง ถึงแม้หนังจะไม่ได้ทำให้เฮิร์สต์เป็นตัวร้ายน่ารังเกียจ แต่มันก็ไม่น่าแปลกใจว่าทำไมปฏิกิริยาของเฮิร์สต์ที่ต่อต้านการฉาย Citizen Kane อย่างหนักในสมัยนั้น คงคล้ายกับที่ ปีเตอร์ มอร์แกน เขียนบทบรรยายภาพลักษณ์ควีนเอลิซาเบธให้เป็นคนเย็นชาใน The Queen ซึ่งมันอาจจะดูไม่ดีและเจ้าตัวน่าจะไม่พอใจที่ถูกนำเสนอมุมมองเช่นนั้น แต่ขณะเดียวกันมันกลับทำให้คนดูจำนวนไม่น้อยรู้สึกเห็นใจเธอในฐานะมนุษย์คนหนึ่งได้เหมือนกัน
.
ในฐานะหนังเรื่องหนึ่ง Citizen Kane จึงเป็นการบรรยายภาพของนักหนังสือพิมพ์ผู้ยิ่งใหญ่ที่เคยมีอุดมการณ์และสนับสนุนแนวคิดหัวก้าวหน้า ใช้สื่อสิ่งพิมพ์ของตัวเองเป็นปากเป็นเสียงให้ชนชั้นแรงงานในยุค 30's ที่เศรษฐกิจตกต่ำ ทะเยอทะยานถึงขั้นลงเล่นการเมือง แต่แล้วอยู่ดี ๆ เขาก็กลายร่างไปเป็นฝ่ายขวาข้างนายทุน (พอจะนึกภาพสื่อในไทยที่เป็นปากเสียงให้ประชาชนแล้วอยู่ดี ๆ ไปรับใช้นายทุนออกไหม) ซึ่งข้ออ้างที่ถูกพูดถึงใน Mank คือการแสดงให้เห็นความเชื่อมโยงว่าชนชั้นแรงงานทั้งหลายอยู่ได้หากทุนนิยมยังคงอยู่ ฟังดูเหมือนจะดีแต่มันก็เป็นแค่ข้ออ้างในการรักษาผลประโยชน์ของพวกพ้องตัวเองที่มีอิทธิพลและคงสถานะชนชั้นสูงในแคลิฟอร์เนีย
.
Mank ยังคงบอกเล่าถึง soft power ของหนังโฆษณาโจมตีแนวคิดฝ่ายซ้ายสังคมนิยมให้ดูน่ากลัวเป็นคอมมิวนิสต์ ความน่าเศร้าของมันคือคนทำหนังโฆษณาก็ไม่ได้เชื่อเช่นนั้น แต่จำยอมต้องทิ้งอุดมการณ์ตัวเองเพื่อความก้าวหน้าในอาชีพที่จะได้โอกาสกำกับหนังของตัวเองเรื่องแรกเสียที แม้เขาจะทำหนังที่ดูสั่ว ๆ ประมาณว่าคนดูคงไม่โง่เชื่อหนังโฆษณาแบบนี้หรอก แต่เราก็เห็นผลลัพธ์ของ fake news ในทุกยุคสมัยที่คนพร้อมจะเชื่อในสิ่งที่ตัวเองอยากได้ยินอยู่แล้ว จะว่าไปมันก็ฟังดูเป็นการเปรียบเปรยถึงเฮิร์สต์ที่ยอมละทิ้งอุดมการณ์เพื่อผลประโยชน์ของตัวเองเหมือนกัน
.
อีกจุดที่น่าสนใจคือหนังยึดข้อเท็จจริงว่า 'เฮอร์แมน แมนคีวิซ' (Gary Oldman) เป็นคนเขียนบทและเริ่มไอเดีย Citizen Kane ซึ่งอ้างอิงจากลักษณะของหนังแล้วก็คงเป็นเช่นนั้นเพราะออร์สัน เวลส์ น่าจะแทบไม่รู้จักเฮิร์สต์เป็นการส่วนตัว และการที่หนังเล่าแบบสลับช่วงเวลาตกอับเพราะติดเหล้าจนต้องมานอนพักฟื้นเพื่อเขียนบท กับช่วงเวลาคลุกคลีอยู่ในสังคมอภิสิทธิ์ชนเพราะประสบความสำเร็จอย่างดีในฮอลลีวูด โดยมีการเลือกตั้งเป็นตัวแปรที่ทำให้เขาเห็นธาตุแท้ของพวกนายทุนทั้งหลาย จนนำมาสู่แรงบันดาลใจในการพูดถึงนักหนังสือพิมพ์ผู้เคยเป็นหัวก้าวหน้า ให้ย้อนกลับไปตระหนักถึงสิ่งที่ตัวเองเคยยึดมั่น
.
งานของฟินเชอร์เรื่องนี้อัดแน่นไปด้วยไดอะล็อกคมคาย จิกกัดแบบปัญญาชน ถ่ายทำแบบขาวดำ บันทึกเสียงเป็นโมโน แต่สัดส่วนแบบหนังสมัยใหม่ ช่วงแรกของหนังคนดูอาจจะยังดูจับจุดไม่ถูก แต่พอดูไปเรื่อย ๆ ทุกอย่างมันจะขมวดเข้ามาบรรจบกันเอง
Director: David Fincher
screenplay: Jack Fincher
Genre: drama, biography
8.5/10
netflix biography 在 หนังโปรดของข้าพเจ้า Facebook 的最讚貼文
The Two Popes (2019) สามารถดูได้ใน Netflix
• ในมุมหนึ่งก็รู้สึกว่าเป็นหนังชีวประวัติสร้างภาพลักษณ์คริสต์นิกายคาทอลิกสมัยใหม่ว่าเปลี่ยนแปลงทันโลกผ่านพระสันตะปาปาหัวก้าวหน้า (อารมณ์เหมือน The Queen ที่สร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้ควีนเอลิซาเบ็ธ)
• ครึ่งแรกของหนังพูดถึงการปะทะกันระหว่างหัวอนุรักษ์นิยมที่เคร่งศาสนามากจนไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกที่มีการหย่าร้าง/คุมกำเนิด/LGBTQ กับคนหัวก้าวหน้าที่คลุกคลีกับคนชั้นล่างมายาวนานจนเห็นความเหลื่อมล้ำและความทุกข์ในสังคม
• ส่วนครึ่งหลังเป็นการสารภาพบาปของพระสันตะปาปาและพระคาร์ดินัล ที่ทำให้เห็นว่าพวกเขามีความเป็นมนุษย์ที่ผิดพลาดได้และเฝ้ามองหาการไถ่บาปให้ตัวเอง
• หนัง 3 เรื่องล่าสุดที่ แอนโทนี่ แม็คคาร์เทน เป็นคนเขียนบท สามารถพานักแสดงนำชายเป็นผู้ชนะรางวัลออสการ์ได้ทั้งหมด (แกรี่ โอลด์แมน จาก Darkest Hour, รามี มาเลก จาก Bohemian Rhapsody, และ เอ็ดดี้ เรดเมย์น จาก The Theory of Everything)
• อาจจะยังดูหนังของ เฟอร์นันโด เมเรียเลส ไม่หมด แต่เขาคือหนึ่งในผู้กำกับที่เราชอบเหมือนกัน ทั้ง City of God, The Constant Gardener, 360, และเรื่องนี้
-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-\-
เคยเขียนถึงการชนะประชามติทำแท้งเสรีที่ไอร์แลนด์ ซึ่งเป็นประเทศเคร่งศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิกมาก มากจนรัฐธรรมนูญที่นั่นออกแบบให้การทำแท้งอย่างถูกกฎหมายมีเพียงกรณีเดียวคือเมื่อแพทย์วินิจฉัยแล้วว่าการตั้งครรภ์เป็นอันตรายแก่ชีวิตของผู้ตั้งครรภ์ ในขณะที่หลายประเทศในยุโรปเป็น Legal on request หมดแล้ว คือให้เป็นการตัดสินใจของผู้ตั้งครรภ์เอง (http://bit.ly/34EbJcN) ซึ่งก็เป็นอีกประเด็นสำคัญที่โลกเคร่งศาสนาสมัยเก่าปรับตัวไม่ทันต่อเหตุผลด้านสังคม ไม่ว่าจะเป็นความไม่พร้อมในการเลี้ยงดู, การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์, ถูกข่มขืน, หรือทารกในท้องพิการ/ดาวน์ซินโดรม
.
หรือกลุ่ม LGBTQ ซึ่งสมัยก่อนคนยังไม่มีความรู้และมองเป็นโรคที่รักษาหายได้ (ทัศนคติทำทอมให้เป็นหญิง/พาตุ๊ดแต๋วไปฝึกทหารให้แมน) หรือคำสอนในศาสนาที่ยังมองว่า sex มีไว้เพียงกรณีเดียวคือการสืบพันธุ์ การมี sex กรณีอื่นคือความผิดเป็นบาป เป็นผลสืบเนื่องให้เกิดการไม่ยอมรับ LGBTQ สำหรับคนหัวโบราณเคร่งศาสนา กระทั่งเรื่องการหย่าร้างก็มีตัวอย่างให้เห็นในซีรีส์ The Crown ว่าเป็นเรื่องใหญ่เสื่อมเสียสำหรับราชวงศ์ตัวแทนศาสนาจนไม่อาจยอมรับได้ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้คือความหัวเก่าตกยุค ไม่ทันต่อการเปลี่ยนของสังคม
.
ซึ่งในครึ่งแรกของ The Two Popes ก็เป็นการปะทะกันของคนอนุรักษ์นิยม vs. หัวก้าวหน้า หนังพูดชัดเจนว่า 'โป๊ป ฟรานซิส' (Jonathan Pryce) ก็เคยอยู่ในจุดที่ทำตามคำสอนของศาสนาอย่างเคร่งครัดมาก่อน แต่การได้ออกไปใช้ชีวิต ได้สัมผัสใกล้ชิดผู้คนจึงทำให้เขาเกิดความเปลี่ยนแปลงในตัว ยังคงเผยแพร่ศาสนาเหมือนเป็นเซลล์แมนที่แม้จะไม่อินกับของที่ขายแต่ก็พยายามหาข้ออ้างไปบอกเจ้านายว่าเป็นความเมตตา ในขณะที่ 'โป๊ป เบเนดิค' (Anthony Hopkins) คือหนอนหนังสือ เคร่งคำสอนแต่ไม่เคยได้ออกไปใช้ชีวิตจึงวนเวียนอยู่กับกรอบของศาสนาอายุเป็นร้อยปีโดยไม่ปรับตัวรับความเปลี่ยนแปลง หลายครั้งจึงเป็นการผลักคนให้หมดศรัทธาในศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีเคสบาทหลวงล่วละเมิดทางเพศเด็ก โดยที่วาติกันช่วยปกปิดและยึดหลักโบราณว่าการสารภาพบาปคือการชำระล้างเรียบร้อย ทั้งที่ไม่ได้เยียวยาอะไรเหยื่อ แค่ให้อภัยก็เพียงพอโดยไม่จำเป็นต้องลงโทษ (จะให้อินต้องดู Spotlight ต่อ หนังสร้างจากเรื่องจริงการตีแผ่เรื่องอื้อฉาวของบาทหลวงนิกายคาทอลิกที่กระทำการล่วงละเมิดทางเพศเด็กจำนวนมากโดยที่คริสตจักรทราบเรื่องแต่นิ่งเฉยและปกปิดมาตลอด 30 ปี เปิดโปงโดยทีมข่าวสืบสวน Spotlight ประจำนสพ. The Boston Globe ซึ่งรายงานข่าวนี้ชนะรางวัลพูลิตเซอร์สาขาบริการสาธารณะ)
.
จริง ๆ ท่าทีของหนังก็วิพากษ์แนวคิดเชื่อในพระเจ้าเหมือนกัน เราเพิ่งสังเกตว่าศาสนาคริสต์มองพระเจ้าในมุมของการเยียวยาช่วยเหลือ ยามสิ้นหวังคนจะนึกถึงพระเจ้า แต่หลายครั้งที่คนเห็นกันอยู่ว่ายามเดือดร้อนก็ไม่ได้อยู่ในสายตาของพระเจ้า ในขณะที่ฝั่งพุทธใกล้ตัวเราจะเป็นทำนองของความเชื่อเรื่องเวรกรรมตามทัน เชื่อว่าคนทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ทั้งที่มันเป็นแค่เรื่องปลอบประโลมความสิ้นหวัง สิ่งที่หนังมุ่งเน้นจึงเป็นการขับเคลื่อนความเปลี่ยนแปลงในสังคมด้วยตัวเอง โป๊ป ฟรานซิส จึงกลายมาเป็นนักเคลื่อนไหว พูดเรื่องความเหลื่อมล้ำ พูดเรื่องการกดขี่ พูดถึงทรัพยากรในโลก ใช้ความเป็นผู้นำขับเคลื่อนทัศนคติในสังคมนิกายคาทอลิกให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สิ่งเหล่านี้แม้หนังจะประนีประนอมกับความศรัทธาในพระเจ้าแต่ก็ยังเห็นความก้าวหน้าชัดกว่า
.
ความที่หนังมันเล่าเป็นธรรมชาติ ไดอะล็อกคมดี ไม่ยกตัวเองให้สูงส่งด้วย เลยน่าจะเป็นสิ่งที่เราดูจบแล้วชอบหนังมาก
การคงอยู่ของพระสันตะปาปาในยุคใหม่ คือการเชื่อมโลกเข้าหากัน และพยายามยกระดับสังคมให้ดีขึ้น ซึ่งเป็นเรื่องที่ดี
Director: Fernando Meirelles
screenplay: Anthony McCarten
Genre: biography, drama
8.5/10
netflix biography 在 alanreborn79 Youtube 的最佳解答
三十八歲的彭于晏,出道十八年,從愛情戲中的陽光大男孩,到後來成為台灣男神的代表。
在這賣臉的年代,這種不怕苦、沒負面新聞、人又謙虛,確實是難得。更值得學是他人生價值觀。他曾經說過「我就是沒有才華,所以才拿命拼。我不怕吃苦,就怕學習不到東西。」
《聽說》,他學會了手語,練了三個月,每天練到手抽筋。《翻滾吧,阿信》,他苦練了八個月,幾乎每天都進行10個小時以上的體操練習。《激戰》,和真正的拳擊手練打了三個月,練到體脂只有3%。《黃飛鴻之英雄有夢》,他學會了工字伏虎拳、虎鶴雙形拳。《破風》,他每天騎行六七個小時,考到了場地專業賽車手證。《湄公河行動》,他學會了泰語、緬甸語、射擊,還參加了泰國皇家御用保安的特訓。《緊急救援》,彭于晏又花了很多的時間把自己培養成一個有資格的救生員。
有人說他靠運氣?他也不是一帆風順的。他也試過一整年沒工作、沒收入、欠下巨額的債務、人生也試過低落谷底。所以他靠的不是運氣而是人品,無時無刻帶著一種樂觀、感恩、做好自己、正面的態度看待每一天。我們能學到及做到的話,或許都可以創造屬於自己的輝煌時代。
影片內講者的言論純屬個人意見,有關資料只供參考。有興趣就訂閱我的channel支持一下。感謝大家!
For this video, we will be discussing about why Eddie Peng has become the heartthrob of Taiwan. In this video, you will understand Eddie's life and work philosophy and how he spreads this amazing positive charisma that makes him so likable. Furthermore, you will also find other inner qualities as he takes on new challenges in his movies such as: Optimism, Confidence, Authenticity, Gratitude, Persistence.
Some may say that he just got lucky but I think it's his character and positive attitude that brought him to where he is now. Perhaps we can also take a page out of Eddie's experiences and understand that we should be looking for answers from within, as opposed to always chasing for that tangible matter on the outside. That personal truth (i.e. personal happiness / thoughts / integrity / desires) cannot be defined by anyone other than yourself.
This video is only used for commentary purposes. Copyright Disclaimer Under Section 107 of the Copyright Act 1976, allowance is made for "fair use" for purposes such as criticism, comment, news reporting, teaching, scholarship, and research. Fair use is a use permitted by copyright statute that might otherwise be infringing. Non-profit, educational or personal use tips the balance in favor of fair use.
喜歡的歡迎訂閱我的頻道, Please subscribe to my channel
https://www.youtube.com/alankong1979
Instagram: @alanreborn79
Facebook: https://www.facebook.com/alan.kong1
Medium: https://alanreborn79.medium.com
netflix biography 在 WHAM! | Official Trailer | Netflix - YouTube 的推薦與評價
With unprecedented access to both George and Andrew's personal archive including never-before-seen footage, and previously unheard ... ... <看更多>